สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มีนาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

ห้องเรียนธรรมชาติวิทยา
หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น

ที่อยู่ปัจจุบัน
๑๒/๑ หมู่ ๒ ต.กองดิน อ.แกลง จ.ระยอง ๒๒๑๖๐

ประวัติการศึกษา
            พ.ศ. ๒๕๔๒   วิทยาศาสตร์บัณฑิต( วนศาสตร์ )
           พ.ศ. ๒๕๕๒    วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (กีฏวิทยา)

ประวัติการทำงาน
พ.ศ. ๒๕๔๒-๔๓      เจ้าหน้าที่อาสาสมัครฝ่ายวิชาการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร ทำหน้าที่รวบรวม ข้อมูลป่าตะวันตก ๑๗ พื้นที่ โดยทุนสนับสนุนจาก IUCN
พ.ศ. ๒๕๔๓-๔๕     ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการวิจัยนกหายากในป่าบาลา และผู้ช่วยนักวิจัยของสถานีวิจัยสัตว์ป่าฮาลา-บาลา จ. นราธิวาส
พ.ศ. ๒๕๔๕-๔๗     ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการ BRT ( Biodiversity Research and Training Program in Thailand ) ประจำที่ตำบลห้วยเขย่ง อ. ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี         
พ.ศ. ๒๕๔๙-๔๑     ผู้จัดการงานแยกแมลงโครงการ Thailand Insects Group for Entomological Research (TIGER) สำนักวิจัย สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  ต. แม่แรม อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่และมีประสบการณ์การสำรวจความหลาก หลายทางชีวภาพด้าน สัตว์ในป่าภูเมี่ยง-ภูทอง
พ.ศ. ๒๕๕๑-๕๒ อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ และนักวิจัยด้านสัตว์โครงการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพระดับท้องถิ่น จ. ตาก
พ.ศ. ๒๕๕๓-ปัจจุบัน นักวิจัยอิสระ เกษตรกร

ประวัติการรับทุน
พ.ศ. ๒๕๔๕-๔๖      ทุนวิจัยเรื่อง อนุกรมวิธานแมงมุมในป่าทองผาภูมิตะวันตก จ. กาญจนบุรี จากโครงการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย (BRT)
พ.ศ. ๒๕๔๖-๔๗     ทุนวิจัยเรื่อง ความหลากชนิดและการแพร่กระจายของแมงมุมใน ป่าทองผาภูมิตะวันตก จ. กาญจนบุรี จาก  โครงการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ด้าน ความหลากหลาย ทางชีวภาพในประเทศไทย  (BRT)
พ.ศ. ๒๕๔๑-๕๒      ทุนวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมกับชุมชน ในโครงการอนุรักษ์ฟื้นคืนสภาพแม่น้ำลำคลอง จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์
ศิริพร ทองอารีย์ และ ประสิทธิ์ วงษ์พรม. ๒๕๔๔. การแพร่กระจายของนกหว้าในป่าบาลา จ. นราธิวาส. วารสารสัตว์ป่าเมืองไทย. ปี่ที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑
ประสิทธิ์ วงษ์พรม.๒๕๔๗. อนุกรมวิธานแมงมุมใยกลมวงศ์ araneidae ในพื้นที่โครงการทองผาภูมิตะวันตก อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี ใน วิสุทธิ์ ใบไม้ และรังสิมา ตัณฑเลขา ; บทคัดย่อโครงการวิจัยและวิทยานิพนธ์ โครงการ BRT, กรุงเทพ ฯ
ประสิทธิ์ วงษ์พรม. ๒๕๔๙. กีฏวิทยาพื้นบ้านในป่าชุมชนดงใหญ่: การจัดการแมลงกินได้ ของชุมชนบ้านสร้างถ่อนอก ต. สร้างถ่อน้อย  จ. อำนาจเจริญ  ใน. วนวัฒน์เท้าเปล่า ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งเอเชียแปซิฟิก, กรุงเทพ ฯ. ๑๑๐-๑๒๓ น.
ประสิทธิ์ วงษ์พรม. ๒๕๕๐.ความหลากชนิดและนิเวศวิทยาบางประการของแมงมุมใยกลมในพื้นที่โครงการทองผาภูมิตะวันตก อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี. รายงานการ ประชุมโครงการทองผาภูมิตะวันตก. โครงการ BRT.
ประสิทธิ์ วงษ์พรม. ๒๕๕๐. ความหลากหลายของนกในพื้นที่การใช้ประโยชน์ต่างกัน ๕ แบบ ที่บ้านแม่แดดน้อย จ. เชียงใหม่ .
สัมมนาสัตว์ป่าเมืองไทย. ๒๒-๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๐ คณะวนศาสตร์. กรุงเทพ ฯ
สิทธิชัย เสรีสงแสง และ ประสิทธิ์ วงษ์พรม. ๒๕๕๐. การสำรวจสัตว์ขาปล้องป่าไม้ เบื้องต้นการประยุกต์เพื่อประเมินขีดความ สามารถในการรองรับด้านนิเวศในอุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด. เอกสารประกอบการประชุมเครือข่ายอนุรักษ์ อุทยานแห่งชาติเขาแหลม หญ้า-หมู่เกาะเสม็ด จ. ระยอง. ๙๑-๙๘
ประสิทธิ์ วงษ์พรม.๒๕๕๑.การสำรวจสัตว์ป่าเพื่อการประเมินขีดความสามารถด้านการรองรับในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ.
เอกสารประกอบการอบรมการประเมินขีดความสามารถ ด้านนันทนาการในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติ. ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ณ อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด  จ.ระยอง. ๑-๑๐ น.
ประสิทธิ์ วงษ์พรม และ ภานลิน กลิ่นวงศ์. ๒๕๕๑. การใช้ประโยชน์จากพืชป่าที่บ้านกองดิน จ. ระยอง. เอกสารประชุมวิชา
การพรรณพืชป่าระดับชาติ ครั้งที่ ๑. ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๑ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประสิทธิ์ วงษ์พรม ๒๕๕๒. แมงมุมพิษในประเทศไทย.บทความหนังสือ พิษจากสัตว์และพืช สถานเสาวภา,
สภากาชาดไทย. กรุงเทพ หน้า ๗๖-๘๘
Prasit Wongprom and Siriporn Tong-aree. 2002. A Preliminary survey on the  status of endangered
birds and their habitats in Bala forest of Hala-bala    Wildlife Sanctury Narathiwat. BRT Zoology Group
meeting, Chulalongkorn University.
Prasit Wongprom and Siriporn Thong- aree. 2003. Abundace ,occurance and distribution of rare birds
in Bala forest, Narathiwat, Southern Thailand. Proceeding of BRT zoology symposium. Chulalongkorn
University.
Siriporn Thong-aree and Prasit Wongprom. 2003. Ecology and estimate density of great argus
( Argusianus argus ) in Bala forest, Narathiwat, Southern Thailand. Abstract Volume. International Ornithology
Congress, 117 pp.
Prasit Wongprom and Panalin Klinwong. 2009. Biodiversity Education and Conservation through the
participatory action research at Ban Kongdin, Rayong Province, Eastern Thailand. in proceeding of
International Conference on Society and University (ICSU) 2009: Roles for Community Strengthening.
August 5-6,2009. Rambhai Barni Rajabhat University, Chantaburi,Thailand. 510:409 p.

ผลงานหนังสือ
ประสิทธิ์ วงษ์พรม และ ภานลิน กลิ่นวงศ์ . ๒๕๕๒. มรดกคลองกองดิน : ทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน. ศูนย์ธรรมชาติศึกษาประเทศไทย. กรุงเทพ ฯ.  ๑๘๐ น.

ห้องเรียนคนทำค่าย
นาย ประสิทธิ์ วงษ์พรม
เป็นนักกิจกรรมด้านธรรมชาติศึกษาและการอนุรักษ์ ก่อตั้งชมรมอนุรักษ์นกและ ป่าไทย เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙  ต่อมาให้ความสำคัญด้านธรรมชาติศึกษา กับเยาวชนและชุมชน ก่อตั้งศูนย์ธรรมชาติศึกษาประเทศไทย ทำงานในรูปแบบ อาสาสมัคร และเปิดเว็บไซต์ให้ความรู้กับบุคคลทั่วไป เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ในด้าน การวิจัย มีความสนใจด้านนิเวศวิทยาของนกโดยเฉพาะนกป่าหายากและใกล้ สญพันธ์  ต่อมาหันมาสนใจแมลงและแมงมุมทั้งในด้านอนุกรมวิธานและ นิเวศวิทยา รวมทั้งภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจุบันกำลังศึกษาในระดับปริญญาเอก คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เห็ดและราขนาดใหญ่
-