สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาประเทศไทย แก้ไขล่าสุด ธันวาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น
ที่ติดต่อประสานงาน
๑๒๑/๑ หมู่๑๑ บ้านสร้างถ่อนอก ต. สร้างถ่อน้อย อ.หัวตะพาน จ.อำนาจเจริญ ๓๗๒๔๐ โทร ๐๘๗-๑๖๒๘๓๐๕
จุดประสงค์ของหน่วยปฏิบัติการ
๑. เพื่อศึกษาความหลากหลายท างชีวภาพในพื้นที่ป่าชุมชนดงใหญ่และพื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบายตอนกลาง
๒. เพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรชีวภาพโดยชุมชนและการพัฒนาองค์ความรู้ใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
๓. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมธรรมชาติศึกษาให้กับเยาวชนและสถานศึกษาในพื้นที่โครงการ
หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่-ลำเซบายตอนกลาง
โครงการของหน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่-ลำเซบายตอนกลาง
ThaiNEC Unit
โครงการวิจัยเรื่อง กีฏวิทยาพื้นบ้านในบ้านสร้างถ่อนอก ต.สร้างถ่อน้อย อ. หัวตะพาน จ. อำนาจเจริญ ระยะเวลาดำเนินการ ๑ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔ โดยศึกษาองค์ความรู้ชุมชนด้านแมลงทั้งนามธรรมและรูปธรรม
โครงการวิจัยเรื่อง การติดตามความหลากหลายทางชีวภาพและผลกระทบ ในป่าทามหลังมีการสร้างเขื่อนและโครงการผันน้ำบ้าน สร้างถ่อนอก ต.สร้างถ่อน้อย อ. หัวตะพาน จ. อำนาจเจริญ เป็นโครงการระยะ ๑๐ ปี โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน
โครงการศึกษาความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ใน ป่าดงใหญ่ ต. สร้างถ่อน้อย อ. หัวตะพาน จ. อำนาจเจริญ มีระยะการดำเนินงาน ๑ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔ โดยการสำรวจและจัดทำข้อมูลให้กับชุมชนรวมทั้งเผย แพร่กับสาธารณชน
ห้องเรียนคนทำค่าย
เกี่ยวกับป่าชุมชนชนดงใหญ
กีฏวิทยาพื้นบ้าน
รายงานเบื้องต้นสภาพป่าชุมชน
ข้อมูลตำบลสร้างถ่อน้อย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
@
ด้วยสภาพพื้นที่ป่าดงใหญ่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มีระบบนิเวศที่แตกต่างประกอบด้วยป่าดงดิบแล้ง ป่าบุ่งและป่าทาม ป่าเต็งรัง และมีการใช้ประโยชน์ของชุมชนมาตั้งแต่อดีตแต่ไม่ส่งผลกระทบมากนัก แต่หลังจากมีโครงการสร้างฝายกั้นน้ำ และระบบชลประทานที่ใหญ่มากจึงส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของป่าและวิถีชีวิตของชุมชนอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้
ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทยมีความเป็นห่วงและกังวลว่า ผลจากการพัฒนาแบบก้าวกระโดดดังกล่าวจะส่งผลต่อระบบนิเวศของ ป่าชุมชนและวิถีความเป็นอยู่ของชุมชนสร้างถ่อน้อย จึงมีการจัดตั้งหน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่เพื่อศึกษารวบรวมความหลาก หลายทางชีวภาพและศึกษาการจัดการทั้งในอดีตและปัจจุบัน ตลอดจนอนาคตอันใกล้หลังจากมีการสร้างฝายผันน้ำขนาดใหญ่ ในการจัดตั้งหน่วยวิจัยจำเป็นต้องอาศัยนักวิชาการและส้รางนักวิจัย ชุมชนรุ่นใหม่ให้สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบนิเวศและ ชุมชนได้ในระยะยาว
ภาพ : สภาพของป่าทาม ที่สมบูรณ์ และผลกระทบจาก การสร้างฝายและ โครงการผันน้ำ นำมาซึ่งการใช้พื้นท ป่าี่อย่างขาดการ จัดการที่เหมาะสม
เห็ดและราขนาดใหญ่
-