สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด สิงหาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพรผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น

ัเห็ดในประเทศไทย
ASCOMYCETES
@ Arthoniales
@ Diaporthales
@ Gyalectales
@ Helotiales
@ Hypocreales
@ Hysteriales
@ Lecanorales
@ Pezizales
@ Pleosporales
@ Sordariales
@ Xylariales
BASIDIOMYCETES
@ Agaricales
@ Auriculariales
@ Boletales
@ Cantharellales
@ Dacrymycetales
@ Hymenochaetales
@ Phallales
@ Polyporales
@ Russulales
@ Thelephorales
@ Tremellales

ห้องเรียนคนทำค่าย

การสำรวจเห็ดและราขนาดใหญ่ในพื้นที่ป่าชุมชนดงใหญ่ เป็นโครงการวิจัยของหน่วยปฏิบัติการป่าชุมชนดงใหญ่-เซบายตอนกลาง ดำเนินการโดยนักวิจัยศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทยเพื่อศึกษาความหลากชนิดของเห็ดราขนาดใหญ่ในพื้นที่ ศึกษา และประเมินสถานภาพของเห็ดกินได้ในพื้นที่ป่ารอบชุมชนรวมทั้งหาแนวทางในการอนุรักษ์เห็ดกินได้ที่เสี่ยงต่อการ คุกคามและใกล้สูญพันธุ์จากชุมชน จากการสำรวจเบื้้องต้นในพื้นที่ป่าชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณและ ป่าบุ่งป่าทาม พบเห็ดแล้วไม่น้อยกว่า ๗๐ ชนิด และยังมีอีกหลายตัวอย่างที่ยังรอการจำแนกและระุบุชนิดสำหรับในการสำรวจครั้งนี้เป็นเพียงครั้งแรกเริ่ม ดังนั้นจำเป็นต้อง รวบรวมข้อมูลเพื่อความสมบูรณ์ของงานวิจัยต่อไป

เห็ดร่มตีนเรียว
Marasmius aurantioferrugineus
เห็ดไม่นิยมรับประทาน ดอกขนาดเล็ก
พบขึ้นบนใบไม้และกิ่งไม้ผุ พบในพื้นป่าชึ้น ทั้งในป่าดงดิบ ป่าทามและป่าเต็งรัง
เห็ดและราขนาดใหญ่ในป่าชุมชนดงใหญ่ ต. สร้างถ่อน้อย จ.อำนาจเจริญ
เห็ดและราขนาดใหญ่
ประสิทธิ์ วงษ์พรม รวบรวม
รวมบทความเกี่ยวกับเห็ดในไทย
@ เห็ดพิษในประเทศไทย
@ เห็ดเป็นยาสมุนไพรและรักษาโรค
เห็ดน้ำหมาก
Russula emetica (Schaeff. & Fr.) S.F. Gray
เห็ดน้ำหมากคล้ายเห็ดก่อ แต่สีแดงสด ครีบสีขาว รับประทานได้แต่ไม่นิยมเพราะมีรสขม พบในป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ขึ้นเป็นกลุ่มเพียงสองสามสามดอกหรือเดี่ยว
เห็ดปลวกไก่น้อย
Termitomyces heimii Natar.
พบขึ้นเป็นกลุ่ม เป็นเห็ดกินได้ รสชาติดี แต่เก็บยากเนื่องจากมีขนาดเล็ก พบทั้งในป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง
เห็ดลูกฝุ่นกระ
Scleroderma citrinum Pers.
เห็ดรูปร่างกลม มีส่วนยื่นลงในดินยาว สีเหลืองมีเกล็ดลายกระ สีน้ำตาล พบทั้งในป่าดงดิบ ป่าเต็งรัง สนามหญ้าในบ้านเรือน
หนังสือประกอบการจำแนกเบื้องต้น
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ.๒๕๔๔.เห็ดและราในประเทศไทย.สำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,กรุงเทพ ฯ. ๒๖๘ น.
อนงค์ จันทร์ศรีกุลและคณะ.๒๕๕๑.ความหลากหลายของเห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย.สำนัก พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ. ๕๑๔ น.
เกษม สร้อยทอง. ๒๕๓๗.เห็ดและราขนาดใหญ่ในประเทศไทย.ศิริธรรม ออฟเซต, ๒๒๒ น.
Gerrit J. Keizer.1997.Encyclopedia of Fungi. Rebo Production,286 p.
เห็ดเผาะ
Astraeus hygrometricus (Pers.)Morg พบแตกออกในช่วงฤดูผลเพื่อการกระจายของ สปอร์ เห็ดชนิดนี้นิยมเก็บในต้นฤดูฝน ดอกอ่อนมีรูปร่างค่อนข้างกลม พบสองแบบคือเห็ดเผาะหนังและเห็ดเผาะฝ้าย
เห็ดจาวมะพร้าว
Calvatia craniformis (Schw.) Fr. พบตามสนามหญ้า ป่าเต็งรัง หรือขอบป่า ลักษณะคล้ายจาวมะพร้าว นุ่ม
เห็ดลูกฝุ่นหนาม
Lycoperdon perlatum Pers. คล้ายเห็ดจาวมะพร้าว แต่เล็กกว่า ผิวขรุขระ พบขึ้นกระจายเป็นกลุ่มตามใต้ต้นไม้ สนามหญ้า ป่าเต็งรัง สวนผลไม้ และสนามหญ้าในบ้านเรือน
เห็ดครีบคราม
Heinemannomyces splendidissima Watl.
เห็ดสีสวย หมวกด้านบนสีม่วง มีขนนุ่ม ครีบสีคราม เมื่อแก่สีดำ เป็นเห็ดพิษ พบทั้งในป่า สวน ในป่าดงใหญ่พบในป่าดงดิบแล้ง ป่าทามและป่าเต็งรัง
เห็ดขอนรังผึ้ง
Polyporus retirugis (Bres.) Ryv.
พบทั้งในป่า สวน บนขอนไม้แห้ง ขึ้นเป็นกลุ่ม หมากสีขาว ครีบรูขนาดใหญ่ รูปร่างรูปปีกปูน

เห็ดก่อแดง
Russula violeipes Quel.
เห็ดกินได้พบในป่าเต็งรัง และป่าดงดิบแล้ง รวมทั้งป่าทาม มักพบใต้ต้นก่อ ขึ้นเป็นกลุ่มหรือเดี่ยว พบในกลางฤดูฝน
โปรดติดตามรายงานการวิจัยต่อไปในวารสารธรรมชาติศึกษาไทย
บันทึกการเดินทางย้อนหลัง
นกกระจอกใหญ่ งานแต่งงานและเหล่าแมลง
บันทึกนกจากเขาสอยดาว

บันทึกจากต้นหว้าในช่วงเวลาปิดเทอมร้อน
ขีดความสามารถรองรับด้านสัตว์ป่า
แนวทางวนเกษตรที่บ้านกุเตอร์โก

เห็ดกินได้ในป่าชุมชนดงใหญ่กับวันวาร
บันทึกจากผ้าป่าสามัคคีที่บ้านกุเตอร์โก
จากผ้าป่าสามัคคีสู่งานวิจัยในบ้านกุเตอร์โก
สำรวจและเรียนรู้โฮย่ากับผู้เชี่ยวชาญ
บันทึกจากประชุมเชิงปฏิบัติการเขาหินปูน
การสำรวจของนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว
ประชุมสรุปผลงานโครงการอนุรักษ์แม่น้ำลำคลอง
-