สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๕๑-๒๕๖๐ โดย ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย แก้ไขล่าสุด มีนาคม ๒๕๖๐

@ บันทึกกิจกรรม
@ บันทึกธรรมชาติและการเดินทาง
@ ห้องสมุดธรรมชาติวิทยา
@ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
Education Activities 2017

@ Wildlife Education #1
@ Young Naturalist
@ Amateur Nature Explorer
@ Nature Interpretation for Trainer
@ IPM in permaculture
@ Science Talent Youth Camp

การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีเป็นแนวทางสำคัญใน การเกษตรแบบยั่งยืน รวมทั้งเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะ ลดการเบียดเบียนธรรมชาติ ทำให้เกิดความสมดุลของชีวิตและระบบนิเวศ ทั้งนี้ ต้องอาศัยความรู้รอบหลากหลายด้าน มีความพยายามในการสังเกตและเรียนรู้ธรรมชาติ ตลอดเวลา ถ้าสามารถทำได้ก็จะส่งผลให้ชีวิตมีสุขภาพดีและมี ความสุข เป็นอีกอุดมคติที่มนุษย์ต้องการ อันที่จริงธรรมชาติมีการจัดสรร แก่งแย่ง แบ่งปันกัน เพียงแต่ต้องทราบวิธีการในการจัดการเท่านั้น
ชีวินทรีย์: รายงาน ๐๕.๐๒.๒๕๖๐
ขอบคุณภาพจากคุณครูหมิง
หน้าหลัก เกี่ยวกับเรา บทความ เอกสารเผยแพร่ ผลงานของเรา โครงการวิจัย อาสาสมัคร งานบริการ
เรียนรู้ธรรมชาติเพื่อชีวิต
หน่วยปฏิบัติการธรรมชาติวิทยา
* หน่วยวิจัยป่าชุมชนดงใหญ่
* หน่วยปฏิบัติการภาคตะวันออก
* หน่วยปฏิบัติการภาคใต้
* หน่วยปฏิบัติการถ้ำและเขาหินปูน
* หน่วยปฏิบัติการภาคเหนือ
ห้องเรียนพันธุ์พืช
ธรรมชาตินานาสัตว์
ห้องเรียนนิเวศวิทยา
ห้องเรียนชุมชนท้องถิ่น
อ่านจดหมาย
อ่านข่าว
ห้องเรียนคนทำค่าย
เห็ดและราขนาดใหญ่
มุมสาระความรู้ กล้วยไม้ เฟิน ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย หญ้า เห็ดราขนาดใหญ่ มอส ไลเคน สาหร่าย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก แมลง แมงมุม แมงป่อง กิ้งกือ ไส้เดือน ปลา หอยแห่งท้องทะเล หอยน้ำจืด หอยทากบก ปู กุ้งและกั้ง ป่าไม้เมืองไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความหลากหลายทางชีวภาพ สภาวะโลกร้อน สึนามิ

อย่างไรก็ตามแนวทางการประเมินระบบความเสี่ยงของ แมลงศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตรอินทรีย์ทั้งระบบยังไม่มีการ ศึกษาอย่างจริงจัง เนื่องจากต้องครอบคลุมทั้งสายใย อาหารที่ซับซ้อนซึ่งการประเมินเพียงด้านใดใดด้านหนึ่งจึง ไม่เพียงพอ การได้มีโอกาสเป็นวิทยากร ครั้งนี้จึงเท่ากับได้เรียนรู้และเพิ่มแนวคิดวิธีการใหม่ในการ ประเมินทั้งระบบนิเวศเกษตรอีกด้วย

ค่ายวิทยาศาสตร์ ชั้น ม. ๔ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ บ้านสวนแสงตะวัน ตำบลบางคนที
อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
แนวทางการสำรวจแบ่งแมลงเป็นสี่กลุ่มคือ กลุ่มกินพืชที่เป็นศัตรู
ส้มโอ กลุ่มแมลงกินพืชอื่นทั่วไป กลุ่มแมลงตัวห้ำและตัวเบียน กลุ่มแมลงที่เป็นศัตรูธรรมชาติของแมลงตัวห้ำ และแมงมุม ครั้งนี้ประเมินเฉพาะช่อดอก จำนวนห้าต้นพบว่าแมลงตัวห้ำและ ตัวเบียนมีจำนวนชนิดและปริมาณ น้อยกว่า แมลงศัตรูพืชแต่พบว่า เมื่อรวมแมงมุมและเทียบประสิทธิภาพแมงมุมในการกินแต่ละวัน
พบว่าอยู่ในสภาพ ปกติพิจารณาจากสุขภาพส้มโอก็อยู่ในเกณฑ์ดี

นับเป็นปีที่สองแล้วที่ศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทยได้รับ เกียรติจากคณาจารย์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ให้เป็นวิทยากรบรรยายและอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง แมงมุมและการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีในระบบ นิเวศเกษตร ซึ่งทางโรงเรียนเลือกสวนส้มโออินทรีย์ในย่านบาง คนทีนับว่าเหมาะสมสำหรับการเรียนรู้อย่างยิ่งการดำเนิน กิจกรรมในรูปแบบโครงงานเล็ก ๆ เพื่อประเมินความเสี่ยงและ สถานการณ์ศัตรูพืชในระบบนิเวศสวนส้มโอ

English
บันทึกการเดินทางย้อนหลัง
นกกระจอกใหญ่ งานแต่งงานและเหล่าแมลง
บันทึกนกจากเขาสอยดาว

บันทึกจากต้นหว้าในช่วงเวลาปิดเทอมร้อน
ขีดความสามารถรองรับด้านสัตว์ป่า
แนวทางวนเกษตรที่บ้านกุเตอร์โก

เห็ดกินได้ในป่าชุมชนดงใหญ่กับวันวาร
บันทึกจากผ้าป่าสามัคคีที่บ้านกุเตอร์โก
จากผ้าป่าสามัคคีสู่งานวิจัยในบ้านกุเตอร์โก
สำรวจและเรียนรู้โฮย่ากับผู้เชี่ยวชาญ
บันทึกจากประชุมเชิงปฏิบัติการเขาหินปูน
การสำรวจของนักสำรวจธรรมชาติรุ่นเยาว
ประชุมสรุปผลงานโครงการอนุรักษ์แม่น้ำลำคลอง